การเขียนทางเทคนิค (Technical Writing) ในสาขาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
การเขียนทางเทคนิคมีรูปแบบ (Format) เฉพาะตามที่กำหนด มีการใช้ภาษาเขียนที่เป็นทางการ มีความถูกต้อง แม่นยำสูง และผู้อ่านไม่ต้องตีความ
การเขียนทางเทคนิคมีรูปแบบ (Format) เฉพาะตามที่กำหนด มีการใช้ภาษาเขียนที่เป็นทางการ มีความถูกต้อง แม่นยำสูง และผู้อ่านไม่ต้องตีความ
ผู้เขียนได้พยายามจัดลำดับความสำคัญของเนื้อหา เพื่อให้เข้าใจเป็นลำดับขั้นตอนอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งหมายถึงการทำงานให้สำเร็จโดยใช้เวลาอย่างประหยัดและรวดเร็ว
ผู้แต่ง : พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร
ปีที่พิมพ์ : 2557
เลขเรียกหนังสือ : 004.288 พ553ช
เรียนรู้พื้นฐานการใช้งานโปรแกรมแบบเข้าใจง่าย ครบทุกฟังก์ชั่น ตั้งแต่วาดชิ้นงาน สร้างซิมโบล สร้างงานแอนิเมชัน และงานมัลติมีเดีย
ผู้แต่ง : ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์
ปีที่พิมพ์ : 2556
เลขเรียกหนังสือ : 006.68 ภ432ค
รวบรวมจากเอกสารประกอบการสอนวิชา วิศกรรมการทาง เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
ผู้แต่ง : ลัดดา เตมีย์.
ปีที่พิมพ์ : 2556
เลขเรียกหนังสือ : 658.3 ล238น
ผู้แต่ง : วรเกษมสันต์ สิริศุภรัชต์.
ปีที่พิมพ์ : 2556
เลขเรียกหนังสือ : 006.78 ว184ป
ผู้แต่ง : เซไรดารีส, ลีซองดร์ เซ.
ปีที่พิมพ์ : 2556
เลขเรียกหนังสือ : 923.1593 ซ534พ